ยืนยันจัดอบรม  หลักสูตร เทคนิค...การเจรจาต่อรองข้อเรียกร้องของสหภาพแรงงาน

รายละเอียด ยืนยันจัดอบรม หลักสูตร เทคนิค...การเจรจาต่อรองข้อเรียกร้องของสหภาพแรงงาน

  • ดูตาราง/สถานที่คอร์สอบรม คลิก

รายละเอียดคอร์สอบรม



วัตถุประสงค์

1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมได้ปฏิบัติตนให้อยู่ในวินัยที่ดี และรักษามรรยาทในการสนทนากัน ขณะเจรจาข้อเรียกร้องของสหภาพแรงงานที่มีผู้แทนฝ่ายลูกจ้างนำเสนอ

2. เพื่อให้ผู้แทนการเจรจาข้อเรียกร้องเข้าใจ การใช้เทคนิคในการเจรจา - การนำเสนอเหตุผลเมื่อจะมีการ เปลี่ยนแปลงสภาพการจ้างในสถานประกอบกิจการ

3. เพื่อให้นำองค์ความรู้ที่ได้รับไปปฏิบัติได้จริงต่อการไกล่เกลี่ยปัญหา – ต่อการเจรจาต่อรองข้อเรียกร้อง ของสหภาพแรงงาน ให้เกิดประโยชน์สูงสุด

4. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมได้ตระหนักอยู่เสมอว่าการแจ้งประนอมข้อพิพาทแรงงานหรือชุมนุมนัดหยุดงาน จะเกิดผลกระทบต่อองค์กร - ต่อนายจ้าง - หรือต่อลูกจ้างอย่างไร

หัวข้อในการอบรม

หมวด 1: การเจรจาต่อรองข้อเรียกร้องสหภาพแรงงาน

1. กฎหมายคุ้มครองแรงงานคุ้มครอง นายจ้าง - คุ้มครองลูกจ้าง อย่างไร..?

• ยกตัวอย่าง : การคุ้มครองนายจ้าง - ลูกจ้าง พร้อมคำอธิบาย

2. กฎหมายแรงงานสัมพันธ์ ให้สิทธินายจ้าง - ให้สิทธิ ลูกจ้าง อย่างไร..?

• ยกตัวอย่าง : การได้รับสิทธิของนายจ้าง - การได้รับสิทธิของลูกจ้าง พร้อมคำอธิบาย

3. ปัญหา ที่ทำให้ลูกจ้างตั้งสหภาพแรงงาน มาจากอะไร..?

• ยกตัวอย่าง : ต้นเหตุมาจากหลายประการพร้อมคำอธิบาย

4. การเจรจาต่อรองข้อเรียกร้องของสหภาพแรงงาน - นายจ้าง - ผู้แทนในการเจรจาฝ่ายนายจ้างจะใช้เทคนิค อย่างไร..? (ถึงจะทำให้ตกลงกันได้ในองค์กร)

• ยกตัวอย่าง : การเสนอเหตุผลและวิธีที่จะทำให้ตกลงกันได้

5. ในระหว่างเจรจาข้อเรียกร้อง นายจ้างต้องการสร้างความกดดันให้สหภาพแรงงาน ต้องดำเนินการอย่างไร..?

• ยกตัวอย่าง : นายจ้าง ยื่นข้อเรียกร้องสวน และการกำหนดข้อเรียกร้องของนายจ้าง

6. กรณีที่นายจ้าง - ลูกจ้าง นำที่ปรึกษาของแต่ละฝ่ายเข้าเจรจาข้อเรียกร้องจะเกิดผลกระทบอย่างไร..?

• ยกตัวอย่าง : ปัญหาจะตามมาในรูปแบบต่างๆ พร้อมคำอธิบาย

7. การแจ้งประนอมข้อพิพาทแรงงานจะเกิดผลกระทบอย่างไร..? เพราะจะเป็นการเจรจากันในระบบไตรภาคี ซึ่งมีผู้แทน 3 ฝ่าย (นายจ้าง - ลูกจ้าง - ภาครัฐ)

• ยกตัวอย่าง : ผลกระทบในภาพรวมพร้อมคำอธิบาย

8. การชุมนุมนัดหยุดงาน ที่ผิดกฎหมายของสหภาพฯ เป็นการชุมนุมลักษณะใด.?

• ยกตัวอย่าง : การชุมนุมในกรณีต่างๆ

9. การปิดงานของนายจ้าง ที่ผิดกฎหมายเป็นการกระทำในลักษณะใด.?

• ยกตัวอย่าง : การกระทำในกรณีต่างๆ

10. การปิดงานหรือชุมนุมนัดหยุดงาน - นายจ้าง - ลูกจ้าง จะมีผลกระทบอย่างไร..?

• ยกตัวอย่าง : ความเสียหายที่เกิดขึ้นกับ นายจ้าง - ลูกจ้าง

11. การชุมนุมนัดหยุดงาน ที่ผิดกฎหมายของสหภาพฯ เป็นการชุมนุมลักษณะใด.?

• ยกตัวอย่าง : การชุมนุมในกรณีต่างๆ

12. ผู้นำแรงงานชักนำองค์กรสหภาพฯ ไปในทางที่ผิด จะเกิดผลกระทบต่อนายจ้างหรือต่อลูกจ้างอย่างไร..?

• ยกตัวอย่าง : การเกิดผลกระทบต่อนายจ้าง - ผลกระทบต่อลูกจ้าง

13. กรณีนายจ้างต้องการเปลี่ยนแปลงข้อตกลงที่นายจ้างกับสหภาพแรงงานได้ทำขึ้นต้องดำเนินการอย่างไร..?

• ยกตัวอย่าง : เป็นการตกลงกันภายใน จะถือปฏิบัติทำได้หรือไม่..? (ขัดต่อกฎหมายหรือไม่ )

14. การปฏิบัติตนที่ดีของ - สมาชิกสหภาพแรงงาน - กรรมการสหภาพแรงงาน - กรรมการลูกจ้างต้องปฏิบัติอย่างไร..?

• ยกตัวอย่าง : การปฏิบัติตนที่มีจิตสำนึกของการเป็นลูกจ้าง

15. กฎหมายแรงงานจะคุ้มครองหรือไม่คุ้มครองสมาชิกสหภาพแรงงาน - กรรมการสหภาพแรงงาน หรือกรรมการลูกจ้าง ในกรณีใดบ้าง..?

• ยกตัวอย่าง : การคุ้มครองกรณีต่างๆและไม่คุ้มครองกรณีทำผิดวินัย

16. การ ลงโทษกรรมการลูกจ้าง ต้องขออำนาจศาลตาม (ม.52) และนายจ้างจะต้องจัดเตรียมเอกสาร - ข้อมูลเพื่อนำเสนอต่อศาลอย่างไร..?

• ยกตัวอย่าง : ลูกจ้างทำผิดวินัยกรณีเป็นผู้นำแรงงาน ( เป็นกรรมการสหภาพแรงงาน )

17. นายจ้าง อนุญาตให้ สมาชิกของสหภาพ - กรรมการสหภาพฯ - กรรมการลูกจ้างไปอบรม - ไปสัมมนา เพื่อเพิ่มพูนความรู้ลูกจ้างเข้าประชุมไม่เต็มเวลานายจ้างจะตรวจสอบและกล่าวโทษอย่างไร..?

• ยกตัวอย่าง : วิธีตรวจสอบ และการลงโทษที่มีผลทางกฎหมาย

18. ในกรณีที่ประธานสหภาพฯ หรือกรรมการลูกจ้าง มีพฤติกรรมดื้อ - ก่อกวน - ชอบสร้างปัญหา - เป็นนักบุกระดม เพื่อให้เกิดปัญหาในองค์กรบ่อยๆ ผู้บริหารหรือ HR. จะทำให้หยุดพฤติกรรมได้อย่างไร..?

• ยกตัวอย่าง : การใช้เทคนิคและ วิธีที่จะทำให้ปัญหาหมดไป

19. ในระหว่างเจรจาข้อเรียกร้องสหภาพแรงงาน ในเวลาทำงานมีพนักงานจับกลุ่มกัน - ออกนอกหน่วยงาน หรือชุมนุมเพื่อกดดันนายจ้าง - ผู้บริหารหรือ HR.จะกล่าวโทษต้องดำเนินการอย่างไร..?

• ยกตัวอย่าง : การเก็บข้อมูล - การกำหนดความเสียหายที่เกิดขึ้น - การพิจารณาลงโทษทางวินัย

20. ในระหว่างเจรจาข้อเรียกร้อง ในเวลาพักหรือในเวลาเลิกงาน มีพนักงานร่วมกันชุมนุมที่หน้าโรงงานใช้เครื่องเสียงประกาศ - ด่าทอ - ชูป้ายมีเขียนข้อความด่านายจ้าง เพื่อกดดันการเจรจาข้อเรียกร้องจะมีความผิดอย่างไร..?

• ยกตัวอย่าง : ความผิดการใช้เครื่องเสียง - การชูป้ายด่าทอ - การทิ้งงานไปชุมนุม - การชุมนุมแล้วไม่เข้าทำงาน

21. ในระหว่างเจรจาข้อเรียกร้อง พนักงานไม่ทำ OT. ในวันทำงานปกติหรือในวันหยุด เพราะมีผู้นำแรงงานแนะนำ ผู้บริหาร - HR.จะกล่าวโทษต้องดำเนินการอย่างไร..?

• ยกตัวอย่าง : การตรวจสอบข้อมูล - การกำหนดความเสียหายที่เกิดขึ้น - การพิจารณาลงโทษทางวินัย

22. กรณีสหภาพแรงงานชุมนุมกันหน้าโรงงานและ ปิดถนน ไม่ให้ รถเข้า - ออก นายจ้างส่งสินค้าให้กับลูกค้าไม่ได้จะเอาผิดสหภาพต้องดำเนินการอย่างไร..?

• ยกตัวอย่าง : การตรวจสอบความเสียหาย - การพิจารณาเพื่อกำหนดลงโทษ

23. กรณีสหภาพแรงงานเข้าร้องทุกข์ต่อสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัด หรือเขตพื้นที่เนื่องจากเกิดข้อพิพาทแรงงานเรื่องสภาพการจ้าง ผู้บริหาร - HR. จ้องดำเดินการอย่างไร..?

• ยกตัวอย่าง : การจัดเตรียมเอกสาร - การหาข้อมูลเพื่อนำเสนอในการไกล่เกลี่ยปัญหา

24. เมื่อเกิดปัญหาสมาชิกสหภาพแรงงาน - กรรมการสหภาพฯ เข้าร้องทุกข์ต่อคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์

  (ครส.) ที่กระทรวงแรงงาน นายจ้างต้องดำเนินการอย่างไร..?

• ยกตัวอย่าง : การจัดเตรียมเอกสาร - การหาข้อมูลเพื่อนำเสนอในการต่อสู้คดี

25. ในกรณีที่นายจ้างไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของคณะกรรมการ (ครส.) ต้องดำเนินการอย่างไร.?

• ยกตัวอย่าง : ขั้นตอนที่นายจ้างต้องปฏิบัติตามกฎหมาย

หมวด 2: คำพิพากษาฎีกา ที่ตัดสินคดี - กรรมการสหภาพฯ - กรรมการลูกจ้าง

26. ประธานสหภาพแรงงานซึ่งเป็นกรรมการลูกจ้าง ลางาน 3วันเพื่อไปแก้ปัญหาข้อพิพาทแรงงานที่เกิดขึ้นกับลูกจ้างของบริษัทฯ มีจุอ่อนตรงไหน....? ทำไม....? นายจ้างเลิกจ้างได้โดยไม่จ่ายค่าชดเชยใดๆ

• มีคำพิพากษาฎีกา ตัดสินคดีนี้ พร้อมคำอธิบาย

27. ประธานฯ - กรรมการสหภาพฯ มีสิทธิลางาน เพื่อทำกิจกรรมของสหภาพแรงงาน ตาม พรบ. 18 ม.120 มีกรณีใดบ้าง และ บางกิจกรรมลูกจ้างชอบลาโดยไม่มีสิทธิลา มีกรณีใดบ้า’..?

• มีคำพิพากษาฎีกา ตัดสินคดีนี้ พร้อมคำอธิบาย

28. ศาลจะอนุญาตให้ นายจ้างเลิกจ้างกรรมการลูกจ้างตาม มาตรา 52ได้ พิจารณาจากอะไร..?

• มีคำพิพากษาฎีกา ตัดสินคดีนี้ พร้อมคำอธิบาย

29. สมาชิกของสหภาพแรงงานฯ เมื่อเกิดปัญหาทำไม.. ? มีสิทธิ มอบอำนาจให้สหภาพแรงงานดำเดินการแทนได้..?

• มีคำพิพากษาฎีกา ตัดสินคดีนี้ พร้อมคำอธิบาย

30 . ข้อตกลงอันเกิดจาก การยื่นข้อเรียกร้องของสหภาพแรงงาน ที่นายจ้างให้ กรณีนายจ้าง หรือลูกจ้างร้องขอ

     ให้มีการเปลี่ยนแปลง ต้องทำอย่างไร..?

• มีคำพิพากษาฎีกา ตัดสินคดีนี้ พร้อมคำอธิบาย

31. นายจ้างมีคำสั่งย้ายกรรมการสหภาพฯ ต่อมาได้มีความยื่นข้อเรียกร้อง ของสหภาพฯเพื่อขอเปลี่ยนแปลง สภาพการจ้าง ลูกจ้างไม่ไปตามสำสั่งย้ายนายจ้างออกใบเตือน ระหว่างยื่นข้อเรียกร้องทำได้หรือไม่เพราะอะไร..?

• มีคำพิพากษาฎีกา ตัดสินคดีนี้ พร้อมคำอธิบาย

32. พนักงาน 190 คน พละงาน ประท้วงโดยไม่มีการแจ้งข้อเรียกร้องเป็นหนังสือ – ไม่มีการลงชื่อ – ไม่มีการลงรายมือชื่อของลูกจ้าง ที่เกี่ยวข้องกับข้อเรียกร้อง ตาม พรบ.18 มาตรา.13 ลูกจ้างจะมีความผิดอะไรบ้างฯ

• มีคำพิพากษาฎีกา ตัดสินคดีนี้ พร้อมคำอธิบาย

33. ลูกจ้างที่เป็นหัวหน้างาน เป็นสมาชิกของ สหภาพแรงงานไม่ได้เพราะอะไร..? มีองค์ประกอบทางกฎหมายย่างไร..?

• มีคำพิพากษาฎีกา ตัดสินคดีนี้ พร้อมคำอธิบาย

34 .กรรมการผู้มีอำนาจ และ ผู้จัดการฝ่ายบุคคล ทำไม..? เป็นกรรมการลูกจ้างไม่ได้...? เพราะอะไร..?

• มีคำพิพากษาฎีกา ตัดสินคดีนี้ พร้อมคำอธิบาย

35.นายจ้างเลิกจ้างกรรมการลูกจ้าง ต้องแจ้งคณะกรรมหารสหภาพฯ หรือไม่ ..? เพราะอะไร..?

• มีคำพิพากษาฎีกา ตัดสินคดีนี้ พร้อมคำอธิบาย

36. เลิกจ้างกรรมการสหภาพฯ ต้องขออำนาจศาลหรือไม่...? เพราะอะไร..?

• มีคำพิพากษาฎีกา ตัดสินคดีนี้ พร้อมคำอธิบาย

37. นายจ้างย้ายกรรมการลูกจ้าง ต้องขออำนาจศาลหรือไม่..? เพราะอะไร

• มีคำพิพากษาฎีกา ตัดสินคดีนี้ พร้อมคำอธิบาย

38. นายจ้างขออำนาจศาลเลิกจ้างกรรมการลูกจ้างตาม มาตรา 52 เมื่อศาลอนุญาตแล้ว นายจ้างออกหนังสือ

เลิกจ้างได้เลยหรือไม่ เพราะคดียังไม่สิ้นสุด เพราะอะไร

• มีคำพิพากษาฎีกา ตัดสินคดีนี้ พร้อมคำอธิบา1ย

39. มีมติของลูกข้างในบริษัทฯ เสียงเกินกึ่งหนึ่ง ปลดกรรมการลูกจ้าง ออกจากตำแหน่ง นายจ้างมีโรงงาน และ สาขา มีพนักงานอยู่สองแห่ง ต้องนับจำนวนของพนักงานอย่างไร..? ถึงจะทำได้ตามกฎหมาย

• มีคำพิพากษาฎีกา ตัดสินคดีนี้ พร้อมคำอธิบาย

40 .สิทธิในการ นัดชุมนุม - นัดหยุดงาน ของลูกจ้าง ในการยื่นข้อเรียกร้องจะเกิดขึ้นเมือใด ..?

• มีคำพิพากษาฎีกา ตัดสินคดีนี้ พร้อมคำอธิบาย

• ถาม - ตอบ - แนะนำ

• ผู้เข้าร่วมสัมมนา - นายจ้าง - ผู้บริหาร - ผู้แทนเจรจาข้อเรียกร้องสหภาพแรงงาน

• ให้คำปรึกษาผู้เข้าร่วมสัมมนา หลังการสัมมนา “ ฟรี ” ตลอดกาลไม่มีค่าใช้จ่าย



ข้อมูลอื่นๆ



รายละเอียดหลักสูตรอื่น ๆ เพิ่มเติมได้ที่นี่ คลิ๊ก http://www.hrdzenter.com/

สำรองที่นั่ง ติดต่อเพิ่มเติมได้ที่ คุณธนนันท์ 090 645 0992 , 089 606 0444, Line : hrdzenter

www.hrdzenter.com ,E-mail : hrdzentertraining@gmail.com , www.facebook.com/hrdzenter, IG : hrd_zenter



ตาราง/สถานที่คอร์สอบรม



รอบ วันอบรม เวลา สถานที่
1 จันทร์ที่ 23 มี.ค. 2020 09:00 - 16:00 น. Arize Hotel ซอยสุขุมวิท 26 ใกล้ BTS พร้อมพงษ์ กรุงเทพฯ

ข้อมูลอบรม

ข้อมูลติดต่อ

  • ชื่อวิทยากร/หน่วยงาน/บริษัท: ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ จำกัด
  • ชื่อผู้ติดต่อ: คุณจิ๋ว
  • เบอร์มือถือ: 089 606-0444
  • เบอร์โทรอื่นๆ: 090-6450992
  • อีเมล: hrdzentertraining@gmail.com
  • เว็บไซต์: www.hrdzenter.com
  • LINE Id: Line : hrdzenter