ครบเครื่องเรื่อง"การนำเข้า-ส่งออก  พิธีการศุลกากร เปลี่ยนแปลงหลักเกณฑ์ใหม่ พรบ.ศุลกากร ฉบับใหม่ 2560

รายละเอียด ครบเครื่องเรื่อง"การนำเข้า-ส่งออก พิธีการศุลกากร เปลี่ยนแปลงหลักเกณฑ์ใหม่ พรบ.ศุลกากร ฉบับใหม่ 2560

  • ดูตาราง/สถานที่คอร์สอบรม คลิก

รายละเอียดคอร์สอบรม



วันที่ 27 กันยายน 2561

เรื่องพีธีการศุลกากร กฎหมายภาษีศุลกากร พรบ.ศุลกากรฉบับใหม่ที่มีการเปลี่ยนแปลง

(บรรยายโดย อ.วิชัย มากวัฒนสุข)

ด่วน ! เปลี่ยนแปลงหลักเกณฑ์ใหม่ที่สำคัญ พระราชบัญญัติศุลกากร 2560 เริ่มบังคับใช้วันที่ 13 พฤศจิกายน 2560

  • การเตรียมตัวก่อนกฎหมายมีผลบังคับใช้

  • จุดเปลี่ยนแปลงสำคัญที่ผู้ประกอบการต้องทราบ

  • ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงกฎหมายต่อผู้ประกอบการ

   หัวข้ออบรมสัมมนา

   1.หลักเกณฑ์ที่มีการเปลี่ยนแปลงใหม่ตามพระราชบัญญัติศุลกากร 2560

   2. ธุรกิจที่ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงกฎหมาย

     - ธุรกิจนำเข้า-ส่งออก

     - เฟดฟอร์เวอร์เดอร์

     - ชิปปิ้ง

     - ขนส่งในท่าเรือ-นอกท่าเรือ

     - คอนเทนเนอร์และธุรกิจอื่นๆที่เกี่ยวข้อง

   3. ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงและวิธีการรับมือเพื่อไม่ให้ธุรกิจเสียหาย

     -วิเคราะห์เปรียบเทียบประเด็นการเปลี่ยนแปลงกฎหมายศุลกากรและผลกระทบต่อเอกชน

     -ปัญหาการจ่ายเงินสินบนและเงินรางวัลให้กับเจ้าหน้าที่หรือสายลับ

   4. การเปลี่ยนแปลงกฎหมายใหม่อะไรบ้างที่จะกระทบถึงลูกค้าและสิ่งที่ต้องแจ้งแก่ลูกค้าเพื่อความเข้าใจที่ถูกต้อง

   5. จุดเปลี่ยนแปลงของพิกัดอัตราศุลกากรใหม่ AHTN 2017 ที่จะกระทบรายได้

     – รายจ่ายของกิจการ พร้อมหลักเกณฑ์ใหม่ที่ถูกต้อง

   6. การเปลี่ยนแปลงกฎหมายกระทบต่อการตรวจสอบภายหลังการตรวจสอบ (Post Audit)อย่างไร เจ้าพนักงานมีอำนาจในการตรวจมากขึ้นหรือไม่ และบทลงโทษที่ต้องระวัง

     -ในกรณีที่เจ้าหน้าที่ศุลกากรขอตรวจสอบเอกสารเกิน 5 ปี ผู้ประกอบการปฏิเสธไม่ให้ตรวจสอบได้หรือไม่

   7. ผลกระทบจากการใช้พิกัดอัตราศุลกากรผิดต่อการเสียภาษีมูลค่าเพิ่มที่ไม่ถูกต้อง

   8. อายุความประเมินและบทลงโทษใหม่ที่ผู้ประกอบการต้องทราบ

     -การนับอายุความกรณีหลีกเลี่ยงหรือพยายามหลีกเลี่ยงภาษีอากร

   9. การเปลี่ยนแปลงจัดตั้งคลังสินค้าทัณฑ์บนสำหรับทำการผลิต ผสมประกอบ บรรจุ

  10. การนำบทบัญญัติเรื่องการเก็บของในคลังสินค้าทัณฑ์บนมาใช้กับเขตปลอดอากร

     -การนำของที่ได้รับยกเว้นหรือคืนอากรเมื่อส่งออกไปนอกราชอาณาจักรหากนำของนั้นเข้าไปในคลังสินค้าทัณฑ์บนให้ถือว่าเป็นการส่งออกนอกราชอาณาจักรซึ่งได้รับการยกเว้นหรือคืนอากรหรือไม่

  11. การเปลี่ยนแปลงบทบัญญัติว่าด้วย “การขนส่งด้วยคอนเทนเนอร์” จะกระทบกับผู้ใช้และผู้ให้บริการอย่างไร

  12. การเปลี่ยนแปลงอายุความในการใช้สิทธิเรียกร้องเพื่อขอคืนอากร (การสงวนสิทธิ์) ประโยชน์ที่ผู้ประกอบการจะได้รับ

  13. การเปลี่ยนแปลงบทบัญญัติ เรื่อง การผ่านแดนและการถ่ายลำ มีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร

     -ผู้ประกอบการที่ประกอบธุรกิจในประเทศ CLMV ต้องเตรียมตัวอย่างไร

  14. การเปลี่ยนแปลงบทลงโทษกรณีซื้อหรือรับไว้ซึ่งของเนื่องด้วยความผิดตามมาตรา 27

     -ต้องดูเจตนาของผู้กระทำความผิดด้วยหรือไม่

     -บทลงโทษที่มีการเปลี่ยนแปลง พร้อมอัตราโทษ

  15. หลักการพิจารณาอุทธรณ์ของคณะพิจารณาอุทธรณ์มีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร ดีต่อผู้ประกอบการหรือไม่ อย่างไร

วิทยากร อาจารย์วิชัย มากวัฒนสุข

วันที่ 28 กันยายน 2561 ครบเครื่องเรื่องการ”นำเข้า-ส่งออก”ทั้งระบบ (บรรยายโดย อ.วัชระ ปิยะพงษ์)

หัวข้อการสัมมนา

• ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการนำเข้า-ส่งออก

o การไหลของวงจรการนำเข้า-ส่งออกที่สำคัญ

o กระบวนการนำเข้า

o กระบวนการส่งออก

o การเจรจา การทำสัญญาในการทำธุรกรรมนำเข้า-ส่งออก

o กระบวนการส่งหรือรับสินค้าเมื่อเกิดรายการขายหรือ Orderในการนำเข้า-ส่งออก

• ขั้นตอนการทำธุรกิจนำเข้า-ส่งออก และการจัดทำเอกสารที่เกี่ยวข้อง

o ขั้นตอนในการทำธุรกิจนำเข้า-ส่งออก (Import-Export Process)

o เอกสารทางการเงิน (Financial Document)

o เอกสารทางการขนส่ง (Transport Document)

o เอกสารทางการค้า (Commercial Document)

• กรอบความตกลงอาเซียนว่าด้วยการอำนวยความสะดวกในการขนส่งสินค้าผ่านแดน

  1. กำหนดผู้ซื้อเป้าหมาย

1.1 เลือกผู้ซื้อเป้าหมาย

1.2 ตรวจสอบสถานภาพทางการเงินของผู้ซื้อ

1.3 เสนอขาย

2. การทำสัญญาข้อตกลงในการซื้อขาย

2.1 ข้อควรระวัง

2.2 เงื่อนไขในสัญญาต้องมีเพื่อลดความเสี่ยง

2.3 พิจารณาข้อกำหนดทางการค้า

3. วิธีการส่งสินค้าออกและการหาระวางบรรทุกสินค้า

การขนส่งทางทะเล การขนส่งทางอากาศ การขนส่งทางรถไฟ การขนส่งทางรถบรรทุก และส่งสินค้าทางพัสดุภัณฑ์ทางอากาศ

4. วิธีการส่งมอบสินค้าต้องอาศัยข้อกำหนดทางการค้าเป็นตัวกำหนด เพื่อไม่ให้เสียเปรียบ

(International Commercial Terms หรือ Incoterms ® 2010)

 EXW (Ex-Works)

 FCA (Free Carrier)

 FAS (Free Alongside Ship)

 FOB (Free on Board)

 CFR (Cost and Freight)

 CPT( Carriage Paid To)

 CIF (Cost Insurance and Freight)

 CIP (Carriage and Insurance Paid To)

 DAT (Delivered at Terminal)

 DAP (Delivered at place)

 DPP (Delivered Duty Paid)

5. การวิเคราะห์เครื่องมือในการชำระเงิน

o Letter of Credit (L/C) ชำระด้วยแล็ตเตอร์ออฟเครดิต

o Bills For Collection (D/P & D/A) ตั๋วเรียกเก็บผ่านธนาคาร

o Consignment การฝากขาย

o Open Account (O/A) ผู้ขายเปิดบัญชีขายเชื่อให้กับผู้ซื้อ

o Cash Advanced Payment การชำระเงินล่วงหน้าหรือการชำระด้วยเงินสด

    6. การวิเคราะห์ Letter of Credit โดยละเอียด

o เงื่อนไขที่เสียเปรียบที่ไม่ควรรับ

o การเตรียมเอกสารและการตรวจเอกสารโดยใช้ข้อบังคับของ UCP 600 เป็นตัวพิจารณา

o การขอแก้ไข L/C (Amendment) ที่ถูกต้อง

    7. การขอให้มีการยืนยันการชำระเงินเพื่อลดความเสี่ยง

    8. การ Negotiate ตั๋วในการส่งออกกับธนาคาร

    9. การทำ Insurance ในการส่งออก

10. วิธีการโอน L/C ให้กับผู้อื่น

10.1 การโอนจำนวนเงินทั้งหมดใน L/C

10.2 การโอนบางส่วนเพื่อรับเงินผลต่าง(ตั๋วประกบ)

10.3 การโอนให้กับผู้รับโอนมากกว่าหนึ่งราย

11. เทคนิคเบื้องต้น ในการป้องกันความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ด้วย Forword Contract, Spot Contract, ฯลฯ

12. แนวทางในการเลือกประกันภัยเพื่อคุ้มครองสินค้าที่จัดซื้อจากต่างประเทศ

13. แนวทางในการเลือกวิธีการขนส่งสินค้าที่สั่งซื้อจากต่างประเทศที่คุ้มค่าปลอดภัย ทันเวลา และเหมาะสมกับสินค้า

วิทยากร อาจารย์วัชระ ปิยะพงษ์



ตาราง/สถานที่คอร์สอบรม



รอบ วันอบรม เวลา สถานที่
1 พฤหัสบดีที่ 27 ก.ย. 2018 - ศุกร์ที่ 28 ก.ย. 2018 09:00 - 16:00 น. โรงแรมอไร้ซ สุขุมวิท 26

ข้อมูลอบรม

ข้อมูลติดต่อ

  • ชื่อวิทยากร/หน่วยงาน/บริษัท: PTS Training Solution
  • ชื่อผู้ติดต่อ: อรัญญา
  • เบอร์มือถือ: 086 618-3752
  • เบอร์โทรอื่นๆ: 021753330
  • อีเมล: ptstraining3@gmail.com
  • เว็บไซต์: -
  • LINE Id: -