เสริมกลยุทธ์นายจ้าง การบริหาร “25 สวัสดิการ” พนักงาน (ภาคบังคับ/ภาคสมัครใจ) เพื่อการตัดรายจ่ายทางบัญชี/ป้องกันปัญหาแรงงาน/การหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย

รายละเอียด เสริมกลยุทธ์นายจ้าง การบริหาร “25 สวัสดิการ” พนักงาน (ภาคบังคับ/ภาคสมัครใจ) เพื่อการตัดรายจ่ายทางบัญชี/ป้องกันปัญหาแรงงาน/การหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย

  • ดูตาราง/สถานที่คอร์สอบรม คลิก

รายละเอียดคอร์สอบรม



การบริหารองค์กรของฝ่าย “นายจ้าง” นอกเหนือจากการจ่ายค่าจ้างและสวัสดิการภาคบังคับให้แก่ลูกจ้างตามกฎหมายแล้ว ก็ยังต้องมีนโยบายจูงใจเพื่อสร้างขวัญกำลังใจผูกมัดลูกจ้างไว้ ไม่ให้เปลี่ยนใจไปทำงานกับองค์กรอื่น อันถือเป็นการสูญเสียต้นทุนที่เรียกว่า “ทรัพยากรมนุษย์” (Human Resource) ดังนั้น การจัดให้มี “สวัสดิการ” (Welfare) ภาคสมัครใจ จึงเป็นเรื่องสำคัญที่นายจ้างจำเป็นต้องให้มีและวางแผนอย่างรัดกุม มิฉะนั้น จะมีปัญหาติดตามมาด้านการตัด “รายจ่าย” ทางบัญชีการเงิน และการบวกกลับทางภาษี ปัญหาการตีความคำว่า “ค่าจ้าง” ตามกฎหมายแรงงานและปัญหาการ “หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย” ของพนักงานตามแบบแสดงรายการ ภ.ง.ด.1 / และ ภ.ง.ด. 1 ก. ตามประมวลรัษฎากร

เนื้อหา

1. ปัญหาด้านกฎหมายแรงงานและภาษีอากรในการจ่ายเงินเดือน / ค่าจ้างและสวัสดิการ

2. สวัสดิการในกฎหมายแรงงาน กับประโยชน์เพิ่มตามกฎหมายภาษี

3. ระเบียบสวัสดิการพนักงาน กับระเบียบข้อบังคับการทำงานเหมือนกันหรือไม่

4. การให้สวัสดิการในสัญญาจ้าง กับการระบุไว้ในระเบียบ / ข้อบังคับต่างกันอย่างไร

5. สภาพการจ้างตามกฎหมายแรงงานสัมพันธ์จะผูกพันนายจ้างเรื่องการให้สวัสดิการพนักงานอย่างไร

6. เทคนิคการวางแผนสวัสดิการพนักงาน 25 ประเด็น

1) การประกันภัยพนักงาน

2) เงินช่วยเหลือค่าทำศพและบำเหน็จตกทอดทายาท

3) การจัดเรื่องการรักษาพยาบาลและห้องพยาบาล

4) เงินช่วยเหลือพนักงานคลอดบุตรและการมีบุตร

5) การจ่ายเงินค่าเบี้ยเลี้ยง / ค่าที่พัก / และค่าพาหนะ

6) การจัดรถรับ - ส่ง ให้พนักงาน

7) เงินช่วยเหลือค่าครองชีพ

8) เงินช่วยเหลืองานสมรส

9) เงินช่วยเหลือพนักงานอุปสมบท

10) การจัดอาหารกลางวันให้พนักงาน

11) เงินช่วยเหลือค่าเช่าบ้านให้พนักงาน

12) การให้มีสัมมนาและทัศนศึกษานอกสถานที่

13) การช่วยเหลือค่าน้ำมันรถส่วนตัวแก่พนักงาน

14) การช่วยเหลือค่าทางด่วนแก่พนักงาน

15) การช่วยเหลือค่าโทรศัพท์ของพนักงาน

16) การจัดให้มีกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ (Provident Fund)

17) การจัดให้มีกองทุนประกันสังคม (The Social Fund)

18) การจ่ายเงินโบนัส

19) การให้เครื่องแบบพนักงาน

20) การจ่ายค่าล่วงเวลาให้พนักงาน

21) การจ่ายค่าคอมมิชชั่น (Commision) ให้พนักงาน

22) การให้กู้ยืมเงินโดยไม่คิดดอกเบี้ย / ดอกเบี้ยต่ำ

23) การจ่ายเบี้ยขยัน

24) การช่วยทุนการศึกษาบุตรของพนักงาน

25) การให้ของที่ระลึกแก่พนักงานที่ทำงานมานาน

7. การตอบคำถามผู้เข้าสัมมนา

รองศาสตราจารย์เพิ่มบุญ แก้วเขียว

โรงแรมโนโวเทล กรุงเทพ สุขุมวิท 20

บุคคลทั่วไป ท่านละ 4,500 บาท

สมาชิก ท่านละ 4,000 บาท

ลงทะเบียน 3 ท่านขึ้นไป ท่านละ 3,500 บาท

**ราคายังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%**


ข้อมูลอื่นๆ



บริษัท เคเอ็นซี เทรนนิ่ง เซ็นเตอร์ จำกัด

เลขที่ 98/83 หมู่ที่ 4 ตำบลบึงยี่โถ อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี 12130

www.knctrainingcenter.com

knctrainingcenter@hotmail.com

โทร. : 02-157-9083, 062-315-5283


ตาราง/สถานที่คอร์สอบรม



รอบ วันอบรม เวลา สถานที่
1 พุธที่ 25 พ.ย. 2020 09:00 - 16:00 น. โรงแรมโนโวเทล กรุงเทพ สุขุมวิท20

ข้อมูลอบรม

  • รหัสคอร์สอบรม: ABR-2011-0090
  • ประเภทการอบรม: อบรมทั่วไปโดยบริษัท/หน่วยงาน
  • จำนวนผู้เข้าชม: 382
  • หมวดหมู่: งานบุคคล HR การทำงาน
  • คำค้นหา: -

ข้อมูลติดต่อ

  • ชื่อวิทยากร/หน่วยงาน/บริษัท: บริษัท เคเอ็นซี เทรนนิ่ง เซ็นเตอร์ จำกัด
  • ชื่อผู้ติดต่อ: กนกวรรณ
  • เบอร์มือถือ: 062 315-5283
  • เบอร์โทรอื่นๆ: -
  • อีเมล: knctrainingcenter@hotmail.com
  • เว็บไซต์: www.knctrainingcenter.com
  • LINE Id: Knctraining