กฎหมายแรงงาน สำหรับผู้บริหารงานบุคคล และพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล จะมีผลบังคับใช้ ในปี พ.ศ.2564 นี้แล้ว นายจ้าง ผู้บริหาร HR  ต้องเตรียมความพร้อม และรับมืออย่างไร

รายละเอียด กฎหมายแรงงาน สำหรับผู้บริหารงานบุคคล และพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล จะมีผลบังคับใช้ ในปี พ.ศ.2564 นี้แล้ว นายจ้าง ผู้บริหาร HR ต้องเตรียมความพร้อม และรับมืออย่างไร

  • ดูตาราง/สถานที่คอร์สอบรม คลิก

รายละเอียดคอร์สอบรม



 หัวข้ออบรม กฎหมายแรงงานสำหรับผู้บริหารงานบุคคล ช่วงเช้า 09.00-12.00 น.

• ทำสัญญาจ้างพนักงานที่ผ่านการทดลองงานแล้ว ต้องกำหนดเงื่อนไขการจ้างไว้ในสัญญาจ้างอย่างไร..?

• ทำสัญญาจ้างพนักงานที่เกษียณงานแล้วจ้างให้ทำงานอีกเป็นสัญญาจ้างแรงงานปีต่อปี เพื่อให้ไม่มีผล ผูกพันตามสัญญาจ้างแรงงาน ต้องกำหนด วันทำงาน - ค่าจ้าง - สวัสดิการ - สภาพการจ้างไว้ในสัญญาจ้างอย่างไร..?

• ทำไม...? สวัสดิการต่างๆ ที่นายจ้างจ่ายให้ลูกจ้างถึงเป็นค่าจ้าง เมื่อลูกจ้างออกจากงานมักจะเอาไปรวมเป็นฐานของเงินเดือน เพื่อเรียกร้องค่าชดเชย กรณีที่นายจ้างไม่อยากให้สวัสดิการเป็นค่าจ้าง ต้องทำอย่างไร.?

• กรณีลูกจ้างมาทำงานสายบ่อยๆจนเป็นอาจิณ หัวหน้างานเตือนแล้วแต่ก็ไม่ปรังปรุงตัว นายจ้างต้องออกกฎเหล็กอย่างไร..?

• นายจ้างประสบปัญหาด้านเศรษฐกิจด้วยเหตุโควิด-19 ระบาด มีความจำเป็นต้องหยุดกิจการบางส่วน 30 - 60 วัน นายจ้างต้องดำเนินการอย่างไร...?

• กรณีนายจ้างประสบปัญหาด้านเศรษฐกิจด้วยเหตุโควิด-19 ระบาดทำให้มีผลกระทบในการประกอบธุรกิจ จึงมี นโยบายเลิกจ้างพนักงานเพื่อเป็นการป้องกันมิให้ลูกจ้างฟ้องศาลแรงงานภายหลัง นายจ้างต้องออกหนังสือเลิกจ้าง อย่างไร..?

• ในกรณีลูกจ้าง ปฏิบัติงาน ปฏิบัติตน มีความผิดทางวินัยเป็นกรณีร้ายแรง ตามข้อบังคับในการทำงานตามระเบียบปฏิบัติ ตามประกาศ หรือตามคำสั่งต่างๆ เพื่อป้องกันมิให้ลูกจ้างฟ้องเรียกร้องค่าใดๆภายหลัง ต้องสอบสวนความผิด ต้องออกหนังสือเลิกจ้าง อย่างไร..?

• กรณีลูกจ้างสมัครงานแล้วไม่มาทำงานจะรับผิด ชดใช้ค่าเสียหายต่อนายจ้างอย่างไร..?

• ตำแหน่งงานที่นายจ้างมีสิทธิ เรียกรับเงินประกันการทำงานมีตำแหน่งงานใดบ้าง..?

• นายจ้างกำหนดข้อบังคับในการทำงาน,กำหนดสัญญาจ้าง,ออกระเบียบปฏิบัติที่บังคับใช้ไม่ได้ (เป็นโมฆะ)มีกรณีใดบ้าง..?

• หัวหน้างาน เพิกเฉยไม่สนใจในการสอบสวนความผิดหรือไม่ลงโทษทางวินัยต่อผู้ใต้บังคับบัญชาจะมีความผิอย่างไร..?

• หัวหน้างาน ควบคุมงาน,ออกคำสั่งให้ผู้ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติงานไม่เป็นไปตาม นโยบาย ,ไม่เป็นไปตามเอกสารในการปฏิบัติงาน ที่บริษัทฯกำหนด จนเป็นเหตุให้บริษัทฯได้รับความเสียหายจะมีความผิอย่างไร..?

• นายจ้างเปลี่ยนแปลงตำแหน่งงาน เปลี่ยนแปลงสภาพการทำงานถือว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงสภาพการจ้างหรือไม่..เพราะอะไร..?

• กรณีนายจ้าง,ลูกจ้าง มีการเจรจาและตกลงกันแต่ไม่ได้บันทึกผลการเจรจากันไว้เป็นลายลักษณ์อักษรจะมีผลทางกฎหมายอย่างไร..?

• ทำสัญญาจ้างแรงงานปีต่อปีเมื่อครบสัญญาจ้าง 1 ปีแล้วมีการต่อสัญญาจ้างใหม่และเมื่อสิ้นสุดสัญญาฉบับสุดท้ายแล้วไม่มีการจ้าง กันต่อไปอีก ลูกจ้างจะได้รับสิทธิตามกฎหมายอะไรบ้าง..?

• มีพฤติกรรมชอบปฏิบัติตนผิดวินัยบ่อยๆ มีนิสัยปากจัด ชอบด่าทอเพื่อนร่วมงานหรือผู้บังคับบัญชา จนหัวหน้างานปกครองไม่ได้อยากเลิกจ้าง ต้องจัดการอย่างไร..?

• เมื่อลูกจ้างลาออกจากงานอยู่ไม่ครบ30วันตามที่ระบุไว้ในหนังสือลาออก ถือว่าลูกจ้างผิดสัญญาจ้าง,ผิดข้อบังคับในการทำงาน ผิดระเบียบปฏิบัติ ลูกจ้างจะรับผิดชดใช้ค่าเสียหายต่อนายจ้างอย่างไร..?

• นายจ้างมีความจำเป็นต้องยุบหน่วยงานตามสาขาต่างๆ จึงมีคำสั่งย้ายพนักงานเข้าทำงานในสำนักงานใหญ่ กรณีลูกจ้างไม่ประสงค์ย้ายตามจะได้รับสิทธิตามกฎหมายอย่างไร..?

• อาศัยตำแหน่งความเป็นลูกจ้าง แอบอ้าง,เรียกเอาผลประโยชน์ จากบุคคลภายนอกเพื่อให้เข้ามาร่วมงานกับนายจ้าง จะมีความผิดตามกฎหมายแรงงานอย่างไร..?

• กรณีลูกจ้างลาออก,วันหยุดพักผ่อนประจำปี,วันหยุดพักผ่อนที่สะสมไว้จากปีที่ผ่านมา,หรือวันลากิจได้รับค่าจ้าง เมื่อสิ้นปีลูกจ้างไม่ได้ใช้สิทธิลาหรือลาไม่หมดลูกจ้างจะได้รับสิทธิอย่างไร..?

• ทำความเสียหายแล้วออกจากงานไปนายจ้างยึดเงินประกัน,ยึดเงินค่าจ้าง,เพื่อชดใช้ค่าเสียหายที่เกิดขึ้นนายจ้างทำได้หรือไม่เพราะไร..?

• ในกรณี นายจ้างประสบปัญหา ด้านเศรษฐกิจ จาก โควิด - 19 ระบาด จึงมีนโยบาย ลดค่าจ้าง พนักงานทุกตำแหน่งงาน คนละ 20% ของค่าจ้าง การปฏิบัติให้ถูกต้อง โดยไม่ผิดกฎหมาย ผู้บริหาร, HR. ต้องดำเนินการอย่างไร

• การแก้ปัญหาเพื่อป้องกันมิให้พนักงานทำผิดวินัยบ่อยๆ ผู้บริหาร,HR. ต้องดำเนินการอย่างไร..?

• องค์ประกอบที่นายจ้างพิจารณาความผิดเป็น กรณีร้ายแรง หรือไม่ร้ายแรง พิจารณาจากอะไร..? เพราะจะมีผลต่อการออกหนังสือเตือน ,สั่งพักการทำงาน หรือ เลิกจ้างเพื่อให้สิ้นสภาพจากการเป็นลูกจ้าง

• เมื่อลูกจ้างออกจากงาน,ลาออก ,ถูกเลิกจ้าง,ละทิ้งหน้าที่,สิ้นสุดระยะเวลาการจ้าง ,ไม่ผ่านการทดลองงาน ,เกษียรงานตามโครงการ , ถูกไล่ออก , กรณีดังกล่าวลูกจ้างจะได้รับสิทธิการประกันการว่างงานจากสำนักงานประกันสังคมอย่างไร..?

• ถาม - ตอบ - แนะนำ

หัวข้อการอบรม พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ช่วงบ่าย 13.00-16.00 น.

หมวด:1 สาระที่สำคัญของ พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลที่จะมีผลบังคับใช้ ในปี พ.ศ.2564

•1.วัตถุประสงค์ของหน่วยงานภาครัฐ ที่ตราพระราชบัญญัติคุ้มครอง

ข้อมูลส่วนบุคคล ฉบับนี้ขึ้นเพื่ออะไร..?

2. ข้อมูลส่วนบุคคลตามพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล คืออะไร..?

3. การเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลจัดทำขึ้นเพื่ออะไร..?

4. มีขอบเขตการใช้บังคับ ตาม พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลอะไรบ้าง.

5. ข้อยกเว้นการใช้บังคับตาม พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลมีหน่วยงานใดบ้าง..?

6. บุคคลที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลส่วนบุคคลมีใครบ้าง..?

7. สิทธิของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล มีอะไรบ้าง..?

8. การยินยอมของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล ต้องทำอย่างไร..?

9. ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล คือใคร.. มีหน้าที่อะไรบ้าง..?

10. ผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลคือใคร..มีหน้าที่อะไรบ้าง..?

11. การเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลจากแหล่งอื่นต้องปฏิบัติอย่างไร...?

12. การเคลื่อนย้าย หรือโอนข้อมูลส่วนบุคคลไปยังหน่วยงานอื่น ต้องปฏิบัติอย่างไร..?

หมวด:2 ข้อมูลส่วนบุคคลที่ นายจ้าง ผู้บริหาร เรียกเก็บและเปิดเผยได้ •

ส่วนที่ 1 ข้อมูลส่วนบุคคลที่นายจ้างเรียกเก็บได้จากลูกจ้างภายในองค์กรมีอะไรบ้าง..?

1. 1 กรณีนายจ้างเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลของลูกจ้าง จะกระทำได้ และชอบด้วยกฎหมายต้องปฏิบัติอย่างไร..?

ส่วนที่ 2 ข้อมูลส่วนบุคคลที่นายจ้างเรียกเก็บจากคู่ค้า จากผู้มาติดต่องาน การเรียกเก็บ ขอบเขตที่ทำได้มีอะไรบ้าง..?

2. 1 กรณีนายจ้างเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล ของคู่ค้าของผู้มาติดต่องาน จะกระทำได้และชอบด้วยกฎหมายต้องปฏิบัติอย่างไร..?

ส่วนที่ 3 นายจ้าง ผู้บริหาร ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล ผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล และ/หรือ ผู้ที่ละเมิดสิทธิข้อมูลส่วนบุคคลของผู้อื่น ตาม พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลฉบับนี้ จนเป็นเหตุให้ เจ้าของข้อมูลได้รับ ความเสียหาย อับอาย เสียซื่อเสียง เสียสิทธิ จะมีความผิด ทางแพ่ง - ทางอาญา และทางปกครอง อะไรบ้าง..?

3. 1 การรับผิด ทางแพ่ง ต้องรับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทนอะไรบ้าง..?

3. 2 การรับผิด ทางอาญา ต้องระวางโทษจำคุก 6 เดือน - 1 ปี หรือ

ปรับ 500,000 - 1,000,000 บาท เพราะอะไร..?

3. 3 การรับผิดทางปกครอง ต้องเสียค่าปรับเป็น 1,000,000 บาท เพราะอะไร..?

3. 4 การรับผิดทาง พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ ( กรณีละเมิดสิทธิลงทางสื่อโซเชียลมีเดีย )

จะมีความผิด ทางแพ่ง - ทางอาญาอะไรบ้าง..?

3.5 การรับผิดทางอาญา กรณีหมิ่นประมาทผู้อื่นด้วยการโฆษณา จะมีความผิด

ทางแพ่ง - ทางอาญาอะไรบ้าง..?

3. 6 การรับผิดทางอาญา กรณีหมิ่นประมาทผู้อื่นต่อบุคคลที่สาม จะมีความผิด

ทางแพ่ง - ทางอาญาอะไรบ้าง..?

3. 7 การรับผิดทางอาญา กรณีหมิ่นประมาทผู้อื่นซึ่งหน้า จะมีความผิด ทางแพ่ง - ทาง

อาญาอะไรบ้าง..?



ตาราง/สถานที่คอร์สอบรม



รอบ วันอบรม เวลา สถานที่
1 อังคารที่ 20 เม.ย. 2021 09:00 - 16:00 น. Jasmine City Hotel ซอยสุขุมวิท 23 ใกล้ BTS อโศก กทม. ** สถานที่อาจมีการเปลี่ยนแปลง **

ข้อมูลอบรม

  • รหัสคอร์สอบรม: ABR-2103-0121
  • ประเภทการอบรม: อบรมทั่วไปโดยบริษัท/หน่วยงาน
  • จำนวนผู้เข้าชม: 563
  • หมวดหมู่: การเงิน บัญชี ภาษี กฎหมาย
  • คำค้นหา: กฎหมายแรงงาน ,พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ,พรบ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ,PDPA

ข้อมูลติดต่อ

  • ชื่อวิทยากร/หน่วยงาน/บริษัท: บริษัท ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ จำกัด
  • ชื่อผู้ติดต่อ: คุณจิ๋ว
  • เบอร์มือถือ: 090 645-0992
  • เบอร์โทรอื่นๆ: 0896060444
  • อีเมล: jiw473@gmail.com
  • เว็บไซต์: -
  • LINE Id: Line : hrdzenter

คอร์สอบรมที่คุณน่าจะสนใจ