รายละเอียดคอร์สอบรม
หัวข้อการเรียนรู้ 2 วัน :
วันที่ 1 : วันศุกร์ที่ 7 พฤษภาคม 2564 (เวลา 09.00-16.00 น.)
แชร์ปัญหาการบริหารกำลังคนในองค์กรของท่าน
- ทำไมเราต้องรู้ให้ได้ว่างานต้องการกำลังคน (Headcount) เท่าไร
- เราจะรู้ได้อย่างไรว่างานนั้นต้องใช้กำลังคนเท่าใด
- วิธีระบุจำนวนคนที่ต้องใช้ในแต่ละหน่วยงาน
ลงลึกเรื่องการวิเคราะห์อัตรากำลัง (Workforce Analysis)
- การวิเคราะห์อัตรากำลังคืออะไร
- ความจำเป็นของการวิเคราะห์อัตรากำลัง และบริหารกำลังคนขององค์กร
- รูปแบบที่หลากหลายของการวิเคราะห์อัตรากำลัง
> การวิเคราะห์อัตรากำลังด้วยวิธีการเชิงคุณภาพ
> การวิเคราะห์อัตรากำลังด้วยวิธีการเชิงปริมาณ
> Workshop : เราจะระบุกำลังคนด้วยวิธีการใดได้บ้าง
เทคนิคการวิเคราะห์อัตรากำลังตามภาระงาน (Workload)
- ภาระงาน (Workload) และการวิเคราะห์อัตรากำลังตามภาระงานคืออะไร
- ส่วนประกอบของภาระงาน
- แหล่งข้อมูลสำหรับการรวบรวมภาระงาน
- ขั้นตอนการวิเคราะห์อัตรากำลังตามภาระงานเป็นอย่างไร
- สูตรการคำนวณอัตรากำลังตามภาระงาน
- ฝึกปฏิบัติ : จัดทำสูตรการคำนวณอัตรากำลังขององค์กรและเลือกใช้สูตรตามแนวที่เหมาะสม
- เหตุที่การวิเคราะห์ภาระงานได้รับความนิยม
จัดทำสูตรการคำนวณอัตรากำลังขององค์กรของท่าน
- คำนวณระยะเวลาทำงานของพนักงานต่อคนต่อปี
- สูตรคำนวณอัตรากำลังขององค์กร
- ฝึกปฏิบัติ : กำหนด Parameter ของสูตรคำนวณอัตรากำลัง พร้อมคำแนะนำจากวิทยากร
วันที่ 2 : วันเสาร์ที่ 8 พฤษภาคม 2564 (เวลา 09.00-16.00 น.)
ข้อมูลที่ต้องใช้สำหรับการวิเคราะห์อัตรากำลังตามภาระงาน
- ข้อมูลงานที่แต่ละหน่วยงาน (แผนก/ฝ่าย) ต้องทำ
- ฝึกปฏิบัติ : ระบุงานที่หน่วยงานต้องดำเนินการตามแบบฟอร์ม พร้อมคำแนะนำจากวิทยากร
- ข้อมูลขั้นตอนการปฏิบัติงานมาตรฐาน
> Work Instruction ขององค์กร
> Chart ต่างๆ ที่หน่วยงานจัดทำไว้
- ข้อมูลระยะเวลาการทำงานในแต่ละขั้นตอน
- ข้อมูลปริมาณงาน - ปัญหาที่มักพบในการรวบรวมข้อมูลเพื่อไปวิเคราะห์ภาระงานพร้อมวิทยากรให้คำแนะนำ
แนวทางการจัดทำข้อมูลภาระงาน (Workload Data Sheet) ตามแบบฟอร์มที่กำหนด
- การใช้สัญลักษณ์ในการจัดทำข้อมูลภาระงาน
- แนวทางการระบุระยะเวลาการทำงานในแต่ละขั้นตอน
- แนวทางการระบุข้อมูลปริมาณงาน
- ฝึกปฏิบัติ : จัดทำข้อมูลภาระงาน (Workload Data Sheet) ของแต่ละหน่วยงานพร้อมคำแนะนำจากวิทยากร
- ปัญหาที่มักพบในการรวบรวมข้อมูลเพื่อไปวิเคราะห์ภาระงานพร้อมวิทยากรให้คำแนะนำ
- ฝึกปฏิบัติการ : จัดทำข้อมูลในแบบวิเคราะห์ภาระงาน และวิทยากรให้คำแนะนำ
ปัญหาที่มักพบในการรวบรวมข้อมูลเพื่อวิเคราะห์ภาระงานและแนวทางการแก้ไขจากประสบการณ์ของวิทยากร
ความจำเป็นในการกำหนดนโยบายการบริหารกำลังคน (Workforce Management Policy)
- กรณีศึกษานโยบายบริหารกำลังคน และฝึกปฏิบัติการ
การกำหนดนโยบายการบริหารกำลังคนและแนวปฏิบัติของฝ่ายทรัพยากรบุคคลในการบริหารกำลังคน (Workforce Management Solution) กรณี..
- จำนวนคนน้อยกว่าที่คาดการณ์ (Workforce Shortage)
- จำนวนคนเกินกว่าคาดการณ์ (Workforce Surplus)
- Workshop : มาตรการขององค์กรกรณี
> Workforce Shortage
> Workforce Surplusถาม-ตอบประเด็น ปัญหา
สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับการวิเคราะห์และบริหารกำลังคนและการนำไปใช้ในองค์กร
————————————————
วิธีการเรียนรู้ :
– บรรยายอย่างย่อและซักถาม
– อภิปรายและแลกเปลี่ยนประสบการณ์
– กรณีตัวอย่างและแบบฟอร์ม
– ฝึกปฏิบัติการพร้อมคำแนะนำ
กลุ่มเป้าหมาย :
เจ้าของธุรกิจขนาด SME ผู้จัดการและหัวหน้างานฝ่าย HR ผู้จัดการและหัวหน้างานทุกสายงาน Workforce Planner ขององค์กร
วิทยากร : ดร.ชัชวาล อรวงศ์ศุภทัต
วิทยากรและที่ปรึกษาด้านการพัฒนาบุคลากร เพื่อการเพิ่มผลผลิตที่มีประสบการณ์มากมายจากองค์กรทั้งในธุรกิจบริการและอุตสาหกรรมหลายองค์กรชั้นนำ
ค่าบริการอบรม : 7,800.-บาท/ต่อท่าน (ราคารวมภาษีมูลค่าเพิ่ม 8,346.-บาท นิติบุคคลหักภาษี ณ ที่จ่าย 3% ชำระยอด 8,112.-บาท)
Special Promotion.!!! มา 2 ท่านขึ้นไป++ รับส่วนลดทันที 200.-บาท/ต่อท่าน ชำระเพียง 7,600.-บาท!!!
หมายเหตุ :
– ค่าบริการอบรม รวม เอกสารประกอบการฝึกอบรม Certificate of Learning สถานที่ อาหารว่าง 2 มื้อ และอาหารกลางวัน ตลอดระยะเวลาทั้ง 2วัน
– บริษัทฯ ขอสงวนสิทธิ์ในการเปลี่ยนแปลงโรงแรมจัดอบรมกรณีผู้เข้าอบรมน้อยกว่า 10 ท่าน
หรือสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ :
สุธาสินี ถ.
บริษัท โปรเฟสชั่นแนล เทรนนิ่ง แอนด์ คอนซัลแทนซี่ จำกัดโทรศัพท์ : 089 677 6047 / 092 431 6631E-Mail : ptccontactt@gmail.comสนใจรายละเอียดของหลักสูตรหลักสูตรอื่นๆ ดูได้ที่ http://www.ptc.in.thติดตามทาง Facebook ได้ที่ https://facebook.com/protrainandconsult
ตาราง/สถานที่คอร์สอบรม
รอบ | วันอบรม | เวลา | สถานที่ |
---|---|---|---|
1 | ศุกร์ที่ 7 พ.ค. 2021 - เสาร์ที่ 8 พ.ค. 2021 | 09:00 - 16:00 น. | โรงแรมโนโวเทล กรุงเทพ สุขุมวิท 20 |