PDPA  นายจ้าง ผู้บริหาร HR. ต้องเตรียมความพร้อม และรับมืออย่างไร  กับกฎหมาย พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล จะมีผลบังคับใช้ ในปี พ.ศ. 2565 นี้

รายละเอียด PDPA นายจ้าง ผู้บริหาร HR. ต้องเตรียมความพร้อม และรับมืออย่างไร กับกฎหมาย พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล จะมีผลบังคับใช้ ในปี พ.ศ. 2565 นี้

  • ดูตาราง/สถานที่คอร์สอบรม คลิก

รายละเอียดคอร์สอบรม



หมวด : 1 สาระที่สำคัญของ พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลที่จะมีผลบังคับใช้

• วัตถุประสงค์ของหน่วยงานภาครัฐ ที่ตราพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ฉบับนี้ขึ้นเพื่ออะไร..?

• ข้อมูลส่วนบุคคลตามพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล คืออะไร..?

• การเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลจัดทำขึ้นเพื่ออะไร..?

• มีขอบเขตการใช้บังคับ ตาม พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลอะไรบ้าง..?

• ข้อยกเว้นการใช้บังคับตาม พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลมีหน่วยงานใดบ้าง..?

• บุคคลที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลส่วนบุคคลมีใครบ้าง..?

• สิทธิของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล มีอะไรบ้าง..?

• การยินยอมของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล ต้องทำอย่างไร..?

• ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล คือใคร.. มีหน้าที่อะไรบ้าง..?

• ผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลคือใคร..มีหน้าที่อะไรบ้าง..?

• การเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลจากแหล่งอื่นต้องปฏิบัติอย่างไร...?

• การเคลื่อนย้าย หรือโอนข้อมูลส่วนบุคคลไปยังหน่วยงานอื่น ต้องปฏิบัติอย่างไร..?

หมวด : 2 ข้อมูลส่วนบุคคลที่ นายจ้าง, ผู้บริหาร, เรียกเก็บและเปิดเผยได้

• ส่วนที่ 1 ข้อมูลส่วนบุคคลที่นายจ้างเรียกเก็บได้จากลูกจ้างภายในองค์กร มีอะไรบ้าง..?

1. 1 ข้อมูลทั่วไป ที่นายจ้างเรียกเก็บได้จากลูกจ้างภายในองค์กร

1. 2 ข้อมูลส่วนบุคคลที่มีความละเอียดอ่อน (sensitive personal data)ที่นายจ้างเรียกเก็บได้จากลูกจ้างภายในองค์กร

1. 3 การเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลจะชอบด้วยกฎหมายต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์อะไรบ้าง..?

1. 4 ความจำเป็นในการปฏิบัติตามกฎหมายมีหลักเกณฑ์อะไรบ้าง..?

• ส่วนที่ 2 ข้อมูลส่วนบุคคลที่นายจ้างเรียกเก็บจาก คู่ค้า จากผู้มาติดต่องาน การเรียกเก็บ ขอบเขตที่ทำได้มีอะไรบ้าง..?

 2. 1 ข้อมูลทั่วไป ที่นายจ้างเรียกเก็บได้จากคู่ค้า จากผู้มาติดต่องาน กับองค์กร

2. 2 การเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลจะชอบด้วยกฎหมายต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์อะไรบ้าง..?

• ส่วนที่ 3 นายจ้าง ผู้บริหาร ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล ผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล และ/หรือ ผู้ที่ละเมิดสิทธิข้อมูลส่วนบุคคลของผู้อื่น ตาม พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลฉบับนี้ จนเป็นเหตุให้ เจ้าของข้อมูลได้รับ ความเสียหาย อับอายเสียซื่อเสียง เสียสิทธิจะมีความผิด ทางแพ่ง - ทางอาญา และทางปกครอง อะไรบ้าง..?

  3. 1 การรับผิด ทางแพ่ง ต้องรับผิด ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนอะไรบ้าง..?

  3. 2 การรับผิด ทางอาญา ต้องระวางโทษจำคุก 6 เดือน - 1 ปี หรือปรับ 500,000 - 1,000,000บาท เพราะอะไร..?

  3. 3 การรับผิดทางปกครอง ต้องเสียค่าปรับเป็น 1,000,000 บาท เพราะอะไร..?

  3. 4 การรับผิดทาง พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ กรณีละเมิดสิทธิลงทาง สื่อโซเชียลมีเดีย จะมีความผิด ทางแพ่ง - ทางอาญาอะไรบ้าง..?

  3. 5 การรับผิดทางอาญา กรณีหมิ่นประมาท ผู้อื่นด้วยการโฆษณา จะมีความผิด ทางแพ่ง - ทางอาญาอะไรบ้าง..?

  3. 6 การรับผิดทางอาญา กรณีหมิ่นประมาท ผู้อื่นต่อบุคคลที่สาม จะมีความผิด ทางแพ่ง - ทางอาญาอะไรบ้าง..?

  3. 7 การรับผิดทางอาญา กรณีหมิ่นประมาท ผู้อื่นซึ่งหน้า จะมีความผิด ทางแพ่ง - ทางอาญาอะไรบ้าง..?

  3. 8 ผลสรุป นายจ้าง, ลูกจ้าง, จะได้รับประโยชน์จากพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลฉบับนี้มีอะไรบ้าง..?

แจกฟรี : ตัวอย่างเอกสาร สำหรับการจัดทำและเรียกเก็บข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงานในองค์กรและบุคคลที่เกี่ยวข้องกับองค์กร

• ถาม - ตอบ - แนะนำ

• ให้คำปรึกษาหลังการสัมมนา “ ฟรี ” ตลอดการไม่มีค่าใช้จ่าย



ตาราง/สถานที่คอร์สอบรม



รอบ วันอบรม เวลา สถานที่
1 อังคารที่ 21 มิ.ย. 2022 13:00 - 17:00 น. อบรม Online by Zoom

ข้อมูลอบรม

ข้อมูลติดต่อ

  • ชื่อวิทยากร/หน่วยงาน/บริษัท: Hrdzentertraining
  • ชื่อผู้ติดต่อ: คุณจิ๋ว
  • เบอร์มือถือ: 090 645-0992
  • เบอร์โทรอื่นๆ: 0896060444
  • อีเมล: tananan.khongka@hotmail.com
  • เว็บไซต์: www.hrdzenter.com
  • LINE Id: hrdzenter

คอร์สอบรมที่คุณน่าจะสนใจ